ประเพณีทางวัฒนธรรมในประเทศไทย

ประเพณีทางวัฒนธรรมในประเทศไทย

ประเพณีทางวัฒนธรรมในประเทศไทย

ประเพณี เป็นกิจกรรมที่มีการปฏิบัติสืบเนื่องกันมา เป็นเอกลักษณ์และมีความส าคัญต่อสังคม เช่น การ แต่งกาย ภาษาวัฒนธรรมศาสนาศิลปกรรมกฎหมายคุณธรรมความเชื่อ ฯลฯ อันเป็นบ่อเกิดของวัฒนธรรมของ สังคมเชื้อชาติต่างๆกลายเป็นประเพณีประจ าชาติและถ่ายทอดกันมาโดยล าดับ  หากประเพณีนั้นดีอยู่แล้วก็รักษา ไว้เป็นวัฒนธรรมประจ าชาติ หากไม่ดีก็แก้ไขเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเทศะ ประเพณีล้วนได้รับอิทธิพลมาจาก สิ่งแวดล้อมภายนอกที่เข้าสู่สังคม รับเอาแบบปฏิบัติที่หลากหลายเข้ามาผสมผสานในการด าเนินชีวิต

ประเภทของประเพณีแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. จารีตประเพณี หรือกฎศีลธรรม หมายถึง สิ่งซึ่งสังคมใดสังคมหนึ่งยึดถือและปฏิบัติสืบกันมาอย่างต่อเนื่อง และมั่นคง เป็นเรื่องของความผิดถูก มีเรื่องของศีลธรรมเข้ามาร่วมด้วย ดังนั้นสมาชิกในสังคมต้องท า ผู้ใด ฝ่าฝืนถือว่าเป็นผิดเป็นชั่วจะต้องถูกต าหนิหรือได้รับการลงโทษจากคนในสังคมนั้น เช่น ลูกหลานต้องเลี้ยง ดูพ่อแม่เมื่อท่านแก่เฒ่า ถ้าใครไม่เลี้ยงดูถือว่าเป็นคนเนรคุณหรือลูกอกตัญญู จารีตประเพณีของแต่ละ สังคมนั้นย่อมไม่เหมือนกัน เพราะมีค่านิยมที่ยึดถือต่างกัน การน าเอาจารีตประเพณีของตนไปเปรียบเทียบ กับของคนอื่นแล้วตัดสินว่าดีหรือเลวกว่าของตนย่อมเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง เพราะสภาพสังคม สิ่งแวดล้อม ตลอดจนความเชื่อของแต่ละสังคมย่อมแตกต่างกันไป 2. ขนบประเพณี หรือสถาบัน หมายถึง ระเบียบแบบแผนที่สังคมได้ก าหนดไว้แล้วปฏิบัติสืบต่อกันมา ทั้ง โดยทางตรงและทางอ้อม ทางตรง ได้แก่ ประเพณีที่มีการก าหนดเป็นระเบียบแบบแผนในการปฏิบัติอย่าง ชัดแจ้งว่าบุคคลต้องปฏิบัติอย่างไร เช่น สถาบันโรงเรียน  ทางอ้อม ได้แก่ ประเพณีที่รู้กันโดยทั่วๆไป โดย ไม่ได้วางระเบียบไว้แน่นอน แต่ปฏิบัติไปตามค าบอกเล่า หรือตัวอย่างจากที่ผู้ใหญ่หรือบุคคลในสังคมปฏิบัติ เช่น ประเพณีเกี่ยวกับการเกิด การตาย การแต่งงาน ซึ่งเป็นประเพณีเกี่ยวกับชีวิต หรือประเพณี เกี่ยวกับเทศกาล ตรุษ สารท การขึ้นบ้านใหม่ เป็นต้น 3. ธรรมเนียมประเพณี หมายถึง ประเพณีเกี่ยวกับเรื่องธรรมดาสามัญที่ทุกคนควรท า มีความผิดถูกเหมือน จารีตประเพณี เป็นแนวทางในการปฏิบัติที่ทุกคนปฏิบัติกันทั่วไปจนเกิดความเคยชินและไม่รู้สึกเป็น ภาระหน้าที่เพราะเป็นสิ่งที่มีมานานและใช้กันอย่างแพร่หลายส่วนมากเป็นมารยาทในด้านต่างๆ เช่น การ แต่งกาย การพูด การรับประทานอาหาร การเป็นแขกไปเยี่ยมผู้อื่น ฯลฯ เราอาจแบ่งประเภทของ ประเพณีไทยออกได้อีก 4 ประเภท คือ  o ประเพณีที่เกี่ยวกับชีวิตหรือประเพณีครอบครัว ได้แก่ประเพณีการเกิด ประเพณีการบวช ประเพณีการแต่งงาน ประเพณีงานศพ o ประเพณีท้องถิ่นของชุมชนหรือประเพณีส่วนรวมตามเทศกาล ประเพณีการชักพระ ประเพณี สงกรานต์ ประเพณีงานบุญบั้งไฟ ประเพณีการรับประทานอาหาร o ประเพณีท้องถิ่น ได้แก่ ประเพณีที่เกียวกับอาชีพ เช่น ภาคใต้ ได้แก่ การลงขันลงหิน การท าขัน และเครื่องลงยา การท าผ้าบาติก การท าโสร่งปาเต๊ะ ประเพณีการแต่งกาย ประเพณีการแต่งกาย ประเพณีการละเล่นในงานนักขัตฤกษ์ เช่น การละเล่นหนังตะลุง มโนราห์ เป็นต้น o ประเพณีราชการ คือประเพณีที่ทางราชการเป็นผู้ก าหนดขึ้น จ าแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ รัฐพิธี และพระราชพิธี   รัฐพิธี เป็นพิธีประจ าปีที่ทางราชการก าหนดขั้น โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จ พระราชด าเนินไปทรงเป็นองค์ประธาน หรือโปรดเกล้าฯ ให้พระราชวงศ์เสด็จไปแทน พระองค์ ได้แก่ รัฐพิธีที่ระลึกวันจักรี ตรงกับวันที่ 6 เมษายน ของทุกปี รัฐพิธีวัน พระราชทานรัฐธรรมนูญ ตรงกับวันที่ 10 ธันวาคม ของทุกปี  พระราชพิธี  หมายถึง พิธีที่จัดขึ้นอันเกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์ เป็นพิธีหลวง ได้แก่ พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา พระราชพิธีฉัตรมงคล พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระ นังคัลแรกนาขวัญ พระราชพิธีกาญจนาภิเษก(วโรกาสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติครบ 50 ปี ในวันที่ 9 มิถุนายน 2539)